ในการเลือกซื้อ Inverter นั้น เราจะมีวิธีการเลือกซื้ออย่างไร? หลายท่านอาจจะยังไม่ทราบ และไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไรดีเพื่อครอบคลุมมากที่สุด และได้ประสิทธิภาพสูงสุด วันนี้เรามีวิธีง่ายๆ มาฝากกันค่ะ
1. ดูเฟสของไฟบ้านที่บ้านท่านใช้งาน ขนาดของไฟบ้านของบ้านท่านว่าใช้ไฟกี่เฟส เพื่อเลือกอินเวอร์เตอร์ให้ถูกต้องกับบ้านของท่าน
[divider align=”center” width=”280px” color=”rgb(182, 182, 182)”]
2. เลือกแบรนด์ Inverter ที่ท่านต้องการ และนำชื่อแบรนด์ที่ท่านเลือกไปค้นหาใน list ของการไฟฟ้าว่าอยู่ใน list ของการไฟฟ้าหรือไม่ ถ้าโดยปกติท่านอยู่กรุงเทพและปริมณฑล จะถูกดูแลด้วยการไฟฟ้านครหลวง (MEA) ถ้าต่างจังหวัดดูแลโดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) เพื่อตรวจสอบว่าแบรนด์ที่เราต้องการนั้น มีการจดทะเบียนเรียบร้อยแล้ว และวางใจได้ค่ะ
ตัวอย่าง บ้าน A อยู่ในกรุงเทพฯ ทำการค้นหาข้อมูล list inverter ที่ MEA
[divider align=”center” width=”280px” color=”rgb(182, 182, 182)”]
3. นำชื่อรุ่นที่ได้จากการค้นหาไปค้นหาข้อมูลสเปคสินค้าใน Google เพื่อนำข้อมูลสเปคสินค้ามาใช้ในการเลือกซื้อดังภาพ
[divider align=”center” width=”280px” color=”rgb(182, 182, 182)”]
[ux_text visibility=”hide-for-medium”]
4. นำข้อมูลสเปค Inverter ที่ท่านเลือกมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า โดยข้อมูลที่เราจะดูค่ามีดังนี้
4.1 ค่า Max. DC Input power จาก Inverter ที่เราเลือกจะอยู่ที่ 3.3kw แต่เราสามารถใช้โซล่าเซลล์ได้ถึง 4.5kw สาเหตุเนื่องจากว่าปกติโซล่าเซลล์ในบ้านเราจะไม่สามารถผลิตได้ที่ maximum ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นตอนเที่ยงก็ตาม เพราะภูมิประเทศของเรานั้นมีอุณหภูมิที่สูง มุมแผงโซล่าเซลล์ที่ต่างกัน ดังนั้นในการออกแบบเราจะใช้กำลังของฝั่งโซล่าเซลล์สูงกว่าอินเวอร์เตอร์ 10-20% เพราะฉะนั้นเราควรสอบถามช่างให้ดีก่อนว่าควรติดโซล่าเซลล์กี่แผงถึงจะเหมาะสมค่ะ
4.2 ค่า Max. PV voltage (V) เป็นค่าที่สำคัญเพราะค่า V ของแผงโซล่าเซลล์ห้ามเกินค่านี้ เพราะถ้าหากเกินค่านี้ อินเวอร์เตอร์ไม่มีตัวป้องกัน ก็จะทำให้อินเวอร์เตอร์เสียหายได้ หรือหากอินเวอร์เตอร์มีตัวป้องกัน ก็ไม่ควรที่จะต่ออนุกรมให้เกินค่านี้เด็ดขาดค่ะ
4.3 ค่า Rated input voltage (V) เป็นค่าที่ทำให้ประสิทธิภาพของ Inverter สูงที่สุด กล่าวคือ ในการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์ควรต่อให้ใกล้เคียงค่านี้มากที่สุด โดยใช้ Vmp (ค่าแรงดันสูงสุดตอนที่แผงโซล่าเซลล์ให้กำลังสูงสุด วัดตอนที่แผงโซล่าเซลล์ให้กำลังสูงสุด)
ตัวอย่าง Vmp = 40V ต่อแผง เราควรจะอนุกรมให้ได้ประมาณ 9 แผง นั่นก็คือ 40V * 9 = 360V แต่ในความเป็นจริงเราอาจจะไม่ได้ต่อได้ตามตัวอย่าง แต่ควรให้การต่อแผงอยู่ใน MPPT voltage range
4.4 ค่า Rated output power [W] เป็นกำลังไฟขาออกฝั่ง AC ไม่ว่าเราจะติดแผงมากกว่าค่านี้ยังไง กำลังไฟก็จะไม่เกินค่านี้ค่ะ
4.5 ค่า Max. Output current และ Nominal grid voltage ใช้ในการออกแบบขนาดของสายไฟที่ราก Inverter ไปยังตู้ไฟ AC ว่าควรมีขนาดเท่าไหร่
4.6 ค่า Max. Efficiency และ Euro- Efficiency เป็นค่าประสิทธิภาพ
– ค่าประสิทธิภาพของโซนอเมริกา Efficiency ควรมากกว่า 96-97%
– ค่าประสิทธิภาพของโซนยุโรป Euro- Efficiency ควรอยู่ที่ มากกว่า 95%
4.7 ค่า Anti-islanding Protection เป็นตัวป้องกระแสไฟไหลย้อนกลับ ในกรณีไฟตก ซึ่งตัวอินเวอร์เตอร์ควรมีไว้เพื่อตัดไฟป้องกันค่ะ
[/ux_text]
[ux_text visibility=”show-for-medium hide-for-small”]
4. นำข้อมูลสเปค Inverter ที่ท่านเลือกมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า โดยข้อมูลที่เราจะดูค่ามีดังนี้
4.1 ค่า Max. DC Input power จาก Inverter ที่เราเลือกจะอยู่ที่ 3.3kw แต่เราสามารถใช้โซล่าเซลล์ได้ถึง 4.5kw สาเหตุเนื่องจากว่าปกติโซล่าเซลล์ในบ้านเราจะไม่สามารถผลิตได้ที่ maximum ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นตอนเที่ยงก็ตาม เพราะภูมิประเทศของเรานั้นมีอุณหภูมิที่สูง มุมแผงโซล่าเซลล์ที่ต่างกัน ดังนั้นในการออกแบบเราจะใช้กำลังของฝั่งโซล่าเซลล์สูงกว่าอินเวอร์เตอร์ 10-20% เพราะฉะนั้นเราควรสอบถามช่างให้ดีก่อนว่าควรติดโซล่าเซลล์กี่แผงถึงจะเหมาะสมค่ะ
4.2 ค่า Max. PV voltage (V) เป็นค่าที่สำคัญเพราะค่า V ของแผงโซล่าเซลล์ห้ามเกินค่านี้ เพราะถ้าหากเกินค่านี้ อินเวอร์เตอร์ไม่มีตัวป้องกัน ก็จะทำให้อินเวอร์เตอร์เสียหายได้ หรือหากอินเวอร์เตอร์มีตัวป้องกัน ก็ไม่ควรที่จะต่ออนุกรมให้เกินค่านี้เด็ดขาดค่ะ
4.3 ค่า Rated input voltage (V) เป็นค่าที่ทำให้ประสิทธิภาพของ Inverter สูงที่สุด กล่าวคือ ในการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์ควรต่อให้ใกล้เคียงค่านี้มากที่สุด โดยใช้ Vmp (ค่าแรงดันสูงสุดตอนที่แผงโซล่าเซลล์ให้กำลังสูงสุด วัดตอนที่แผงโซล่าเซลล์ให้กำลังสูงสุด)
ตัวอย่าง Vmp = 40V ต่อแผง เราควรจะอนุกรมให้ได้ประมาณ 9 แผง นั่นก็คือ 40V * 9 = 360V แต่ในความเป็นจริงเราอาจจะไม่ได้ต่อได้ตามตัวอย่าง แต่ควรให้การต่อแผงอยู่ใน MPPT voltage range
4.4 ค่า Rated output power [W] เป็นกำลังไฟขาออกฝั่ง AC ไม่ว่าเราจะติดแผงมากกว่าค่านี้ยังไง กำลังไฟก็จะไม่เกินค่านี้ค่ะ
4.5 ค่า Max. Output current และ Nominal grid voltage ใช้ในการออกแบบขนาดของสายไฟที่ราก Inverter ไปยังตู้ไฟ AC ว่าควรมีขนาดเท่าไหร่
4.6 ค่า Max. Efficiency และ Euro- Efficiency เป็นค่าประสิทธิภาพ
– ค่าประสิทธิภาพของโซนอเมริกา Efficiency ควรมากกว่า 96-97%
– ค่าประสิทธิภาพของโซนยุโรป Euro- Efficiency ควรอยู่ที่ มากกว่า 95%
4.7 ค่า Anti-islanding Protection เป็นตัวป้องกระแสไฟไหลย้อนกลับ ในกรณีไฟตก ซึ่งตัวอินเวอร์เตอร์ควรมีไว้เพื่อตัดไฟป้องกันค่ะ
[/ux_text]
[ux_text visibility=”show-for-small”]
4. นำข้อมูลสเปค Inverter ที่ท่านเลือกมาวิเคราะห์ เพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า โดยข้อมูลที่เราจะดูค่ามีดังนี้
4.1 ค่า Max. DC Input power จาก Inverter ที่เราเลือกจะอยู่ที่ 3.3kw แต่เราสามารถใช้โซล่าเซลล์ได้ถึง 4.5kw สาเหตุเนื่องจากว่าปกติโซล่าเซลล์ในบ้านเราจะไม่สามารถผลิตได้ที่ maximum ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าจะเป็นตอนเที่ยงก็ตาม เพราะภูมิประเทศของเรานั้นมีอุณหภูมิที่สูง มุมแผงโซล่าเซลล์ที่ต่างกัน ดังนั้นในการออกแบบเราจะใช้กำลังของฝั่งโซล่าเซลล์สูงกว่าอินเวอร์เตอร์ 10-20% เพราะฉะนั้นเราควรสอบถามช่างให้ดีก่อนว่าควรติดโซล่าเซลล์กี่แผงถึงจะเหมาะสมค่ะ
4.2 ค่า Max. PV voltage (V) เป็นค่าที่สำคัญเพราะค่า V ของแผงโซล่าเซลล์ห้ามเกินค่านี้ เพราะถ้าหากเกินค่านี้ อินเวอร์เตอร์ไม่มีตัวป้องกัน ก็จะทำให้อินเวอร์เตอร์เสียหายได้ หรือหากอินเวอร์เตอร์มีตัวป้องกัน ก็ไม่ควรที่จะต่ออนุกรมให้เกินค่านี้เด็ดขาดค่ะ
4.3 ค่า Rated input voltage (V) เป็นค่าที่ทำให้ประสิทธิภาพของ Inverter สูงที่สุด กล่าวคือ ในการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์ควรต่อให้ใกล้เคียงค่านี้มากที่สุด โดยใช้ Vmp (ค่าแรงดันสูงสุดตอนที่แผงโซล่าเซลล์ให้กำลังสูงสุด วัดตอนที่แผงโซล่าเซลล์ให้กำลังสูงสุด)
ตัวอย่าง Vmp = 40V ต่อแผง เราควรจะอนุกรมให้ได้ประมาณ 9 แผง นั่นก็คือ 40V * 9 = 360V แต่ในความเป็นจริงเราอาจจะไม่ได้ต่อได้ตามตัวอย่าง แต่ควรให้การต่อแผงอยู่ใน MPPT voltage range
4.4 ค่า Rated output power [W] เป็นกำลังไฟขาออกฝั่ง AC ไม่ว่าเราจะติดแผงมากกว่าค่านี้ยังไง กำลังไฟก็จะไม่เกินค่านี้ค่ะ
4.5 ค่า Max. Output current และ Nominal grid voltage ใช้ในการออกแบบขนาดของสายไฟที่ราก Inverter ไปยังตู้ไฟ AC ว่าควรมีขนาดเท่าไหร่
4.6 ค่า Max. Efficiency และ Euro- Efficiency เป็นค่าประสิทธิภาพ
- ค่าประสิทธิภาพของโซนอเมริกา Efficiency ควรมากกว่า 96-97%
- ค่าประสิทธิภาพของโซนยุโรป Euro- Efficiency ควรอยู่ที่ มากกว่า 95%
4.7 ค่า Anti-islanding Protection เป็นตัวป้องกระแสไฟไหลย้อนกลับ ในกรณีไฟตก ซึ่งตัวอินเวอร์เตอร์ควรมีไว้เพื่อตัดไฟป้องกันค่ะ
[/ux_text]
[ux_text visibility=”hide-for-medium”]
ข้อมูลเบื้องต้นก็เป็นเพียงแนวทางที่จะช่วยให้ท่านดูสเปคของ Inverter ได้ง่ายขึ้น
เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการเลือกซื้อ Inverter ค่ะ
หากท่านสนใจสั่งซื้อหรือสอบถามเพิ่มเติ่มได้ที่
CALL CENTER : 1247
Web site : PSI.CO.TH
LINE : @PSI1247
FB : https://www.facebook.com/psisats
[/ux_text]
[ux_text visibility=”show-for-medium hide-for-small”]
ข้อมูลเบื้องต้นก็เป็นเพียงแนวทางที่จะช่วยให้ท่านดูสเปคของ Inverter ได้ง่ายขึ้น
เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการเลือกซื้อ Inverter ค่ะ
หากท่านสนใจสั่งซื้อหรือสอบถามเพิ่มเติ่มได้ที่
CALL CENTER : 1247
Web site : PSI.CO.TH
LINE : @PSI1247
FB : https://www.facebook.com/psisats
[/ux_text]
[ux_text visibility=”show-for-small”]
ข้อมูลเบื้องต้นก็เป็นเพียงแนวทางที่จะช่วยให้ท่าน
ดูสเปคของ Inverter ได้ง่ายขึ้น
เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการเลือกซื้อ Inverter
หากท่านสนใจสั่งซื้อหรือสอบถามเพิ่มเติ่มได้ที่
CALL CENTER : 1247
Web site : PSI.CO.TH
LINE : @PSI1247
FB : https://www.facebook.com/psisats
[/ux_text]
[ux_banner height=”150px” bg=”28036″ bg_overlay=”rgba(0, 94, 184, 0.69)”]
[text_box position_x=”50″ position_y=”50″]
PSI INVERTER
[/text_box]
[/ux_banner]
[ux_products ids=”28452,28459,28504,28545″]